ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
ผู้ป่วยติดเตียง

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ เป็นสิ่งที่ตอบโจทย์
สำหรับผู้ป่วยติดเตียงอย่างมาก ถือเป็นนวัตกรรมใหม่
ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงในยุคปัจจุบัน

เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถเดินหรือเคลื่อนไหวได้ การนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลาเป็นเวลานานอาจ
ทำให้เกิดแผลกดทับขึ้นได้ ทำให้มีการคิดค้นที่นอนโฟมกันแผลกดทับ เพื่อช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้

แผลกดทับ
เกิดจากสาเหตุอะไร

แผลกดทับ เกิดจากผิวหนังในบริเวณนั้นมีการกดทับ
เป็นเวลานานๆ จนทำให้เลือดไม่ไปเลี้ยงผิวหนังบริเวณ
นั้น จนได้รับบาดเจ็บได้

ส่วนที่เสี่ยงเป็นแผลกดทับได้ง่าย จะอยู่บริเวณ ข้อเท้า สะโพก ศอก ไหล่ หลังหัว ที่เกิดจาก แรงกดทับ
และแรงเสียดสี ทำให้ที่นอนโฟมสำหรับผู้ป่วยติดเตียง เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิด
แผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงได้ ยิ่งเป็นผู้สูงอายุก็ยิ่งเสี่ยงที่จะเกิดแผลกดทับได้ง่าย

ทำไมต้องใช้ที่นอนโฟม
ป้องกันแผลกดทับ ?

การใช้ที่นอนโฟมแผลกดทับ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงนั้น
มีความแตกต่างจากที่นอนธรรมดาแบบที่ใช้ทั่วไป
ที่นอนโฟมดียังไงบ้าง ทำไมถึงต้องใช้กับผู้ป่วยติดเตียง

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
รองรับน้ำหนักได้ดี

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับสามารถรองรับ
น้ำหนักตัวได้ตั้งแต่ 100 – 200 กิโลกรัม
ขึ้นอยู่กับแต่ละรุ่น ทำให้สามารถนำไปใช้กับ
ผู้ป่วยได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคนที่มีน้ำหนัก
ตัวเยอะหรือน้อย

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า

ที่นอนโฟมกันแผลกดทับ ไม่มีส่วนใดที่เกี่ยว
ข้องกับไฟฟ้า ทำให้หมดห่วงเรื่องการชำรุด
หรือรัดวงจร ไม่ต้องเสียบปลั๊กให้ยุ่งยาก
ไม่ต้องห่วงเรื่องไฟดับหรืออันตรายที่เกิด
จากการใช้ไฟฟ้า

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
กันน้ำได้

วัสดุที่ใช้คลุมที่นอน เป็นผ้าคลุม PU สามารถ
กันน้ำ และระบายอากาศได้ดี จึงหมดห่วงเรื่อง
น้ำซึมเข้าด้านใน ทำให้ทำความสะอาดได้ง่าย
และช่วยลดการสะสมของเชื้อแบคทีเรียและ
เชื้อโรคต่าง ๆ ได้

ช่วยเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ
ได้ดียิ่งขึ้น

ที่นอนโฟมผู้ป่วยนั้นจะไร้เสียงรบกวนเมื่อเทียบ
กับที่นอนลม ที่มีการปั๊มลม และการสลับยุบ
พองของลอนอยู่ตลอดเวลา จนทำให้รบกวน
ผู้ป่วยได้ที่นอนโฟมจะไม่มีการเคลื่อนที่ของ
ที่นอน และไม่ต้องใช้การเสียบไฟเพื่อปั๊มลม
ทำให้ผู้ป่วยสามารถนอนหลับโดยไม่ต้องมี
เสียงรบกวน นอนได้อย่างเต็มอิ่มมากขึ้น

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
รองรับน้ำหนักได้ดี

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับสามารถรองรับน้ำหนักตัวได้ตั้งแต่ 100 – 200 กิโลกรัมขึ้นอยู่กับแต่ละรุ่น ทำให้สามารถนำไปใช้กับผู้ป่วยได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคนที่มีน้ำหนักตัวเยอะหรือน้อย

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า

ที่นอนโฟมกันแผลกดทับ ไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า ทำให้หมดห่วงเรื่องการชำรุดหรือรัดวงจร ไม่ต้องเสียบปลั๊กให้ยุ่งยากไม่ต้องห่วงเรื่องไฟดับหรืออันตรายที่เกิดจากการใช้ไฟฟ้า

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
กันน้ำได้

วัสดุที่ใช้คลุมที่นอน เป็นผ้าคลุม PU สามารถกันน้ำ และระบายอากาศได้ดี จึงหมดห่วงเรื่องน้ำซึมเข้าด้านใน ทำให้ทำความสะอาดได้ง่ายและช่วยลดการสะสมของเชื้อแบคทีเรียและเชื้อโรคต่าง ๆ ได้

ช่วยเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ
ได้ดียิ่งขึ้น

ที่นอนโฟมผู้ป่วยนั้นจะไร้เสียงรบกวนเมื่อเทียบกับที่นอนลม ที่มีการปั๊มลม และการสลับยุบพองของลอนอยู่ตลอดเวลา จนทำให้รบกวนผู้ป่วยได้ที่นอนโฟมจะไม่มีการเคลื่อนที่ของที่นอน และไม่ต้องใช้การเสียบไฟเพื่อปั๊มลมทำให้ผู้ป่วยสามารถนอนหลับโดยไม่ต้องมีเสียงรบกวน นอนได้อย่างเต็มอิ่มมากขึ้น

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ ราคาเท่าไหร่ ?

สรุปการเลือกที่นอนโฟม
ป้องกันแผลกดทับ

ที่นอนโฟมกันแผลกดทับ เป็นอีกอุปกรณ์สำคัญที่ผู้ป่วยติดเตียง
จะขาดไม่ได้ เพราะหากใช้ที่นอนธรรมดาไปนาน ๆ เสี่ยงทำให้เกิด
แผลกดทับ ยิ่งสร้างความเจ็บปวดให้กับผู้ป่วยยิ่งขึ้นไปอีก

จึงควรเลือกใช้ที่นอนโฟมที่มีการออกแบบคิดค้นมาอย่างดีเพื่อผู้ป่วยติดเตียงโดยเฉพาะ ลดการเกิดแผลกดทับได้
สมาพันธ์ เฮลท์ได้มีที่นอนกันแผลกดทับที่มีคุณภาพ ทนทานต่อการใช้งาน ทำความสะอาดง่าย ไม่อับชื้น
ที่นอนคงตัวดี เสริมเนื้อโฟมหนา ที่คุณสามารถเลือกความสูงของที่นอนได้

กระจายแรงกดทับได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทดสอบด้วย Pressure Imaging Technology

รอยตัดภายในชั้นโฟมสลับกันเป็นลอนคลื่น
ลิขสิทธ์เฉพาะจากฟุงเคอร์

กระจายแรงกดทับโดยเฉลี่ยได้น้อยกว่า
18 มิลลิเมตรปรอท

ผ่านการทดสอบโดยใช้ Pressure Imaging
Technology จาก XSENSOR®Technology
Corporation

*ถึงแม้ว่า FUNKE จะมีคุณสมบัติช่วยกระจายแรงกดทับ ผู้ป่วยก็ยังมีความจำเป็นจะต้องถูกเคลื่อนไหวและเปลี่ยนท่าทางอยู่เสมอ
ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบอย่างเป็นประจำจากผู้ที่ดูแล

คุณสมบัติพิเศษอื่น ๆ ของฟุงเคอร์

ผ่านการทดสอบและใช้งานจริง

โดยโรงพยาบาลชั้นนำในประเทศไทยว่าสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับได้จริง

บทสัมภาษณ์จากผู้ใช้งานจริง

“จริงๆ แล้วถ้าเกิดได้รู้จัก Funke ตั้งแต่แรก
ก็คงไม่ต้องเสียเงินซื้อที่นอน  หรือเปลี่ยนที่นอน
ให้คุณแม่ถึง 3 ครั้งค่ะ”

คุณรักษณาวัณย์ นิรันดร์กุล
เจ้าของธุรกิจออนไลน์

แผลกดทับ คืออะไร ?

แผลกดทับคือบริเวณที่มีการตายของเซลล์
และเนื้อเยื่อจากการขาดเลือดอันเป็นผลจากการ
ถูกกดทับเป็นเวลานาน ๆ

แผลกดทับมักจะเกิดบริเวณเนื้อเยื่อที่อยู่เหนือปุ่มกระดูก
เช่น บริเวณกระดูกก้นกบ กระดูกสะโพกตาตุ่ม

การกดทับ
มีข้อสังเกตุดังนี้

  • บริเวณที่มีกล้ามเนื้อมากจะทนต่อแรงกดทับได้ดี
  • มีรายงานว่าแรงกดประมาณ 70 มม.ปรอท
    กดทับเป็นเวลา 1 – 2 ชั่วโมง ติดต่อกัน จะทำให้
    เกิดการขาดเลือดขึ้น
  • แรงกดจำนวนมากแม้เพียงระยะเวลาสั้น ๆ
    ก็ทำให้เกิดอันตราย ต่อเนื้อเยื่อได้เท่ากับแรงกด
    น้อย ๆ แต่ระยะเวลานาน
  • แผลกดทับมักพบในผู้ป่วยอัมพาตแบบ faccid
    มากกว่าอัมพาต IUU spastic

แรงไถและ
ความเสียดทาน

ทำให้เกิดการปริแตกของเนื้อเยื่อ
ได้ง่าย และมักจะพบในผู้ป่วยอัมพาต
ที่นั่งรถเข็นโดยเฉพาะเวลามีการ
เคลื่อนตัวบนรถเข็น

อุณหภูมิ

อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทำให้มีการเพิ่ม
เมตาบอลิสซึมของเซลล์ ส่งเสริมให้
เนื้อเยื่อขาดเลือดและตายได้ง่ายขึ้น
ส่งผลให้แผลกดทับรุนแรงยิ่งขึ้น

ความมีอายุ

ยิ่งอายุมากขึ้นหมายความว่า
ร่างกายของเราจะฟื้นตัวได้ช้าลง
จึงเพิ่มความรุนแรงของแผลกดทับ

ภาวะทาง
โภชนาการ

การขาดโปรตีนจะทำให้การเสริมสร้าง
เนื้อเยื่อ ช้าลง ส่งผลให้แผลหายช้า
พบว่าผู้ป่วยที่มีแผลควรได้รับโปรตีน
80 – 100 กรัม/วัน
นอกจากนี้ภาวะความไม่สมดุลของ
ไนโตรเจน แคลเซียม การขาดวิตามิน
เหล่านี้ทำให้แผลหายช้าลง

การบวมน้ำ

ซึ่งจะเป็นตัวขัดขวางการส่งผ่าน
อาหารและออกซิเจนจากเส้นเลือดฝอย
มาเลี้ยงเซลล์ทำให้เกิดแผลกดทับได้
ง่ายขึ้นและหายช้าลงด้วย

ภาวะความผิดปกติ
ของต่อมไร้ท่อ

เพราะการที่ต่อมไร้ท่อทำงานผิดปกติ
หมายถึง สุขภาพโดยรวมของร่างกาย
จะแย่ลงด้วย

ปัจจัยอื่นๆ

เช่น ความชื้นจากเหงื่อ อุจจาระ
ภาวะติดเชื้อ เป็นต้น

แผลกดทับแบ่งออกเป็น 4 ระดับ

ระดับที่ 1

ผิวหนังยังไม่ฉีกขาด
เห็นเป็นรอยแดงหรือคล้ำ

ระดับที่ 2

สูญเสียผิวหนังบางส่วน
ผิวหนังพองเป็นตุ่มน้ำใส

ระดับที่ 3

แผลมีลักษณะเป็นโพรงลึก
ชั้นผิวหนังถูกทำลาย

ระดับที่ 4

ผิวหนังถูกทำลายอย่างรุนแรง
ถึงชั้นกล้ามเนื้อกระดูก

การป้องกันแผลกดทับ

1.  ดูแลเปลี่ยนท่านอนทุก 2 ชั่วโมง โดยจัดให้ตะแคงซ้าย ตะแคงขวา นอนหงาย นอนคว่ำกึ่งตะแคงสลับกันไปตามความเหมาะสม
ควรใช้หมอนหรือผ้านุ่มๆ รองบริเวณที่กดทับ หรือปุ่มกระดูกยื่น เพื่อป้องกันการเสียดสีและลดแรงกดทับ 
2.  ควรใช้ที่นอนที่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ที่นอนลม ที่นอนโฟม ควรหลีกเลี่ยงการใช้ที่นอนที่ การระบายอากาศไม่ดี
3.  ดูแลผิวหนังผู้ป่วยให้สะอาด แห้ง ไม่อับชื้น เพราะถ้าผิวหนังเปียกชื้นหรือร้อนจะทำให้เกิด แผลเปื่อยผิวหนังถลอกและหากสังเกต
พบว่าผู้ป่วยมีผิวหนังแห้งแตกเป็นขุย ควรดูแลทาครีม หรือโลชั่นทาผิวหนัง
4.  ดูแลให้ผู้ป่วยออกกำลังกายตามความเหมาะสม เพื่อให้กล้ามเนื้อหลอดเลือดและผิวหนัง แข็งแรงมีการไหลเวียนของโลหิตดี
5.  ดูแลให้อาหารผู้ป่วยอย่างเพียงพอ คุณค่าทางโภชนาการครบโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรตีน จำเป็นอย่างมากต่อผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ
นอกจากนี้ต้องดูแลให้วิตามิน ธาตุเหล็ก และน้ำอย่าง สมดุลด้วย

สอบถามข้อมูลและรับส่วนลดราคาพิเศษ คลิก

พร้อมออฟชั่นเสริมครบชุด

คุณสมบัติพิเศษอื่น ๆ
ของฟุงเคอร์

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
ผู้ป่วยติดเตียง

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ เป็นสิ่งที่ตอบโจทย์
สำหรับผู้ป่วยติดเตียงอย่างมาก ถือเป็นนวัตกรรมใหม่
ในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงในยุคปัจจุบัน

เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถเดินหรือเคลื่อนไหวได้ การนอนอยู่
บนเตียงตลอดเวลาเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดแผลกดทับขึ้นได้
ทำให้มีการคิดค้นที่นอนโฟมกันแผลกดทับ เพื่อช่วยแก้ปัญหา
เหล่านี้ได้

แผลกดทับ
เกิดจากสาเหตุอะไร ?

แผลกดทับเกิดจากผิวหนังในบริเวณนั้นมีการกดทับ
เป็นเวลานานๆ จนทำให้เลือดไม่ไปเลี้ยงผิวหนัง
บริเวณนั้น จนได้รับบาดเจ็บได้

ส่วนที่เสี่ยงเป็นแผลกดทับได้ง่าย จะอยู่บริเวณ ข้อเท้า สะโพก ศอก ไหล่ หลังหัว ที่เกิดจาก แรงกดทับ และแรงเสียดสี ทำให้ที่นอนโฟมสำหรับผู้ป่วยติดเตียง เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงได้ ยิ่งเป็นผู้สูงอายุก็ยิ่งเสี่ยงที่จะเกิดแผลกดทับได้ง่าย

ทำไมต้องใช้ที่นอนโฟม
ป้องกันแผลกดทับ ?

การใช้ที่นอนโฟมแผลกดทับ สำหรับผู้ป่วยติดเตียงนั้น
มีความแตกต่างจากที่นอนธรรมดาแบบที่ใช้ทั่วไป
ที่นอนโฟมดียังไงบ้าง ทำไมถึงต้องใช้กับผู้ป่วยติดเตียง

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
รองรับน้ำหนักได้ดี

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับสามารถรองรับน้ำหนักตัว
ได้ตั้งแต่ 100 – 200 กิโลกรัม
ขึ้นอยู่กับแต่ละรุ่น ทำให้
สามารถนำไปใช้กับ
ผู้ป่วยได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคนที่มี
น้ำหนัก
ตัวเยอะหรือน้อย

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า

ที่นอนโฟมกันแผลกดทับ ไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า
ทำให้หมดห่วงเรื่องการชำรุดหรือรัดวงจร ไม่ต้องเสียบ
ปลั๊กให้ยุ่งยากไม่ต้องห่วงเรื่องไฟดับหรืออันตรายที่เกิด
จากการใช้ไฟฟ้า

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
กันน้ำได้

วัสดุที่ใช้คลุมที่นอน เป็นผ้าคลุม PU สามารถกันน้ำ
และระบายอากาศได้ดี จึงหมดห่วงเรื่อง
น้ำซึมเข้าด้านใน
ทำให้ทำความสะอาดได้ง่าย
และช่วยลดการสะสมของ
เชื้อแบคทีเรียและ
เชื้อโรคต่าง ๆ ได้

ช่วยเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ
ได้ดียิ่งขึ้น

ที่นอนโฟมผู้ป่วยนั้นจะไร้เสียงรบกวนเมื่อเทียบกับ
ที่นอนลมที่มีการปั๊มลม และการสลับยุบพองของลอน
อยู่ตลอดเวลาจนทำให้รบกวนผู้ป่วยได้ ที่นอนโฟม
จะไม่มีการเคลื่อนที่ของที่นอน และไม่ต้องใช้การเสียบ
ไฟเพื่อปั๊มลมทำให้ผู้ป่วยสามารถนอนหลับโดยไม่ต้อง
มีเสียงรบกวน นอนได้อย่างเต็มอิ่มมากขึ้น

ที่นอนโฟมป้องกันแผลกดทับ
ราคาเท่าไหร่ ?
สรุปการเลือกที่นอนโฟม
ป้องกันแผลกดทับ

ที่นอนโฟมกันแผลกดทับ เป็นอีกอุปกรณ์สำคัญที่
ผู้ป่วยติดเตียงจะขาดไม่ได้ เพราะหากใช้ที่นอนธรรมดาไปนาน ๆ เสี่ยงทำให้เกิดแผลกดทับ ยิ่งสร้างความเจ็บปวดให้กับผู้ป่วยยิ่งขึ้นไปอีก

จึงควรเลือกใช้ที่นอนโฟมที่มีการออกแบบคิดค้นมาอย่างดีเพื่อผู้ป่วยติดเตียงโดยเฉพาะ ลดการเกิดแผลกดทับได้
สมาพันธ์ เฮลท์ได้มีที่นอนกันแผลกดทับที่มีคุณภาพ ทนทานต่อการใช้งาน ทำความสะอาดง่าย ไม่อับชื้นที่นอนคงตัวดี เสริมเนื้อโฟมหนา ที่คุณสามารถเลือกความสูงของที่นอนได้

กระจายแรงกดทับได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทดสอบด้วย Pressure Imaging Technology

รอยตัดภายในชั้นโฟมสลับกันเป็นลอนคลื่น
ลิขสิทธ์เฉพาะจากฟุงเคอร์

กระจายแรงกดทับโดยเฉลี่ยได้น้อยกว่า
18 มิลลิเมตรปรอท

ผ่านการทดสอบโดยใช้ Pressure Imaging
Technology จาก XSENSOR®Technology
Corporation

*ถึงแม้ว่า FUNKE จะมีคุณสมบัติช่วยกระจายแรงกดทับ
ผู้ป่วยก็ยังมีความจำเป็นจะต้องถูกเคลื่อนไหวและเปลี่ยนท่าทางอยู่เสมอซึ่งรวมถึงการตรวจสอบอย่างเป็นประจำจากผู้ที่ดูแล

คุณสมบัติพิเศษอื่น ๆ ของฟุงเคอร์

ผ่านการทดสอบและใช้งานจริง

โดยโรงพยาบาลชั้นนำในประเทศไทยว่า
สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับได้จริง

บทสัมภาษณ์จากผู้ใช้งานจริง

“จริงๆ แล้วถ้าเกิดได้รู้จัก Funke ตั้งแต่แรก
ก็คงไม่ต้องเสียเงินซื้อที่นอน  หรือเปลี่ยนที่นอน
ให้คุณแม่ถึง 3 ครั้งค่ะ”

คุณรักษณาวัณย์ นิรันดร์กุล
เจ้าของธุรกิจออนไลน์

แผลกดทับ คืออะไร ?

แผลกดทับคือบริเวณที่มีการตายของเซลล์
และเนื้อเยื่อจากการขาดเลือดอันเป็นผลจากการ
ถูกกดทับเป็นเวลานาน ๆ

แผลกดทับมักจะเกิดบริเวณเนื้อเยื่อที่อยู่เหนือปุ่มกระดูก
เช่น บริเวณกระดูกก้นกบ กระดูกสะโพกตาตุ่ม

การกดทับ
มีข้อสังเกตุดังนี้

  • บริเวณที่มีกล้ามเนื้อมากจะทนต่อแรงกดทับได้ดี
  • มีรายงานว่าแรงกดประมาณ 70 มม.ปรอท
    กดทับเป็นเวลา 1 – 2 ชั่วโมง ติดต่อกัน จะทำให้
    เกิดการขาดเลือดขึ้น
  • แรงกดจำนวนมากแม้เพียงระยะเวลาสั้น ๆ
    ก็ทำให้เกิดอันตราย ต่อเนื้อเยื่อได้เท่ากับแรงกด
    น้อย ๆ แต่ระยะเวลานาน
  • แผลกดทับมักพบในผู้ป่วยอัมพาตแบบ faccid
    มากกว่าอัมพาต IUU spastic

แรงไถและ
ความเสียดทาน

ทำให้เกิดการปริแตกของเนื้อเยื่อได้ง่าย และมักจะพบในผู้ป่วยอัมพาตที่นั่งรถเข็นโดยเฉพาะเวลามีการเคลื่อนตัวบนรถเข็น

อุณหภูมิ

อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทำให้มีการเพิ่มเมตาบอลิสซึมของเซลล์ ส่งเสริมให้เนื้อเยื่อขาดเลือดและตายได้ง่ายขึ้นส่งผลให้แผลกดทับรุนแรงยิ่งขึ้น

ความมีอายุ

ยิ่งอายุมากขึ้นหมายความว่าร่างกายของเราจะฟื้นตัวได้ช้าลง
จึงเพิ่มความรุนแรงของแผลกดทับ

ภาวะทาง
โภชนาการ

การขาดโปรตีนจะทำให้การเสริมสร้างเนื้อเยื่อ ช้าลง ส่งผลให้แผลหายช้าพบว่าผู้ป่วยที่มีแผลควรได้รับโปรตีน 80 – 100 กรัม/วัน นอกจากนี้ภาวะความไม่สมดุลของไนโตรเจน แคลเซียม การขาดวิตามินเหล่านี้ทำให้แผลหายช้าลง

การบวมน้ำ

ซึ่งจะเป็นตัวขัดขวางการส่งผ่านอาหารและออกซิเจนจากเส้นเลือดฝอยมาเลี้ยงเซลล์ทำให้เกิดแผลกดทับได้ง่ายขึ้นและหายช้าลงด้วย

ภาวะความผิดปกติ
ของต่อมไร้ท่อ

เพราะการที่ต่อมไร้ท่อทำงานผิดปกติหมายถึง สุขภาพโดยรวมของร่างกายจะแย่ลงด้วย

ปัจจัยอื่นๆ

เช่น ความชื้นจากเหงื่อ อุจจาระ ภาวะติดเชื้อ เป็นต้น

แผลกดทับแบ่งออกเป็น 4 ระดับ

ระดับที่ 1

ผิวหนังยังไม่ฉีกขาด
เห็นเป็นรอยแดงหรือคล้ำ

ระดับที่ 2

สูญเสียผิวหนังบางส่วน
ผิวหนังพองเป็นตุ่มน้ำใส

ระดับที่ 3

แผลมีลักษณะเป็นโพรงลึก
ชั้นผิวหนังถูกทำลาย

ระดับที่ 4

ผิวหนังถูกทำลายอย่างรุนแรง
ถึงชั้นกล้ามเนื้อกระดูก

การป้องกันแผลกดทับ

  1. ดูแลเปลี่ยนท่านอนทุก 2 ชั่วโมง โดยจัดให้ตะแคงซ้าย ตะแคงขวา นอนหงาย นอนคว่ำกึ่งตะแคงสลับกันไปตามความเหมาะสม ควรใช้หมอนหรือผ้านุ่มๆรองบริเวณที่กดทับ หรือปุ่มกระดูกยื่น เพื่อป้องกันการเสียดสีและลดแรงกดทับ 
  2. ควรใช้ที่นอนที่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ที่นอนลม ที่นอนโฟม ควรหลีกเลี่ยงการใช้ที่นอนที่ การระบายอากาศไม่ดี
  3. ดูแลผิวหนังผู้ป่วยให้สะอาด แห้ง ไม่อับชื้น เพราะถ้าผิวหนังเปียกชื้นหรือร้อนจะทำให้เกิด แผลเปื่อยผิวหนังถลอกและหากสังเกตพบว่าผู้ป่วยมีผิวหนังแห้งแตกเป็นขุย ควรดูแลทาครีม หรือโลชั่นทาผิวหนัง
  4. ดูแลให้ผู้ป่วยออกกำลังกายตามความเหมาะสม เพื่อให้กล้ามเนื้อหลอดเลือดและผิวหนัง แข็งแรงมีการไหลเวียนของโลหิตดี
  5. ดูแลให้อาหารผู้ป่วยอย่างเพียงพอ คุณค่าทางโภชนาการครบโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรตีน จำเป็นอย่างมากต่อผู้ป่วยที่มีแผลกดทับนอกจากนี้ต้องดูแลให้วิตามิน ธาตุเหล็ก และน้ำอย่าง สมดุลด้วย

สอบถามข้อมูลและรับส่วนลดราคาพิเศษ คลิก

พร้อมออฟชั่นเสริมครบชุด

พร้อมออฟชั่นเสริมครบชุด