เตียงลมผู้ป่วย ควรเลือกอย่างไร ?
แผลกดทับมักจะเจอได้บ่อยในผู้ป่วยติดเตียงที่มักไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ รวมทั้งเจอได้ในผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน จึงทำให้ผู้ดูแลเกิดความกังวลใจตามมาด้วย เตียงลมผู้ป่วย หรือ ที่นอนลมกันแผลกดทับ เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยติดเตียงได้ แล้วที่นอนลม แผลกดทับ มีกี่แบบ จะเลือกที่นอนกันแผลกดทับ แบบไหนดี ให้เหมาะสมกับผู้ป่วย และควรดูแลผู้ป่วยแผลกดทับอย่างไรได้บ้าง
แผลกดทับ เกิดที่ส่วนไหนได้บ้าง ?
แผลกดทับ เป็นแผลที่เกิดจากผิวหนังบริเวณใดบริเวณหนึ่งโดนกดทับเป็นเวลานาน จนเลือดไม่ไปเลี้ยง ทำให้ผิวหนังได้รับบาดเจ็บได้
แผลกดทับจึงมักจะเกิดได้ที่ หลังหัว ไหล่ ข้อศอก สะโพก หลัง เนื่องจากมีแรงกดทับและมีแรงเสียดสีมาก ที่นอนลมกันแผลกดทับ
จึงเป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่คิดค้นมาเพื่อลดความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับได้
ระดับความรุนแรงของแผลกดทับ
แผลกดทับสามารถแบ่งระดับความรุนแรงออกเป็น 4 ระดับดังนี้
การจัดระดับแผลกดทับมีหลายระดับ โดยอาศัยระดับที่มาจากการจำแนกขององค์กรทางการแพทย์
แต่ละแห่งอาจแตกต่างกันไปเล็กน้อย แต่ระดับที่พบบ่อยที่สุดมักจะมี 4 ระดับ

แผลกดทับระยะที่ 1
เป็นแผลระดับเริ่มต้น ผิวหนังบริเวณแผลจะไม่มีสี หรืออาจมีสีแดงหากเป็นคนที่มีผิวขาว แผลจะไม่เปิดออก แต่เมื่อจับดูแผลจะมีลักษณะอุ่น นุ่ม หรือแข็งก็ได้ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บได้
แผลกดทับระยะที่ 2
แผลระยะนี้จะเป็นแบบเปิดหรืออาจมีแผลตุ่มน้ำพอง ผิวหนังบริเวณแผลจะหลุดลอกออก เพราะหนังกำพร้าและหนังแท้ถูกทำลาย ทำให้ผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บที่แผลมากขึ้น
แผลกดทับระยะที่ 3
จะมีลักษณะเห็นเป็นโพรงลึก จนถึงขั้นอาจเห็นไขมันที่บริเวณแผล เพราะผิวหนังทั้งหมดได้หลุดลอกออกไป และเนื้อเยื่อในชั้นผิวหนังถูกทำลาย
แผลกดทับระยะที่ 4
ผิวหนังบริเวณแผลจะถูกทำลายอย่างรุนแรง และเนื้อเยื่อที่อยู่รอบๆ จะเริ่มตายไปด้วย จนส่งผลให้ชั้นกล้ามเนื้อและกระดูก ก็อาจถูกทำลายตามไปด้วย
วิธีป้องกันการเกิดแผลกดทับ
- การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยที่ติดเตียงเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก เพื่อช่วยรักษาผิวหนังให้เลือดไปหล่อเลี้ยง ลดความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับได้
- สลับท่านอน โดยให้เปลี่ยนท่านอนของผู้ป่วยอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมงเพื่อลดแรงกดทับ เช่น หลังคอ ไหล่ สะโพก และเข่า
- ใช้หมอนรองรับ โดยวางหมอนรองรับใต้ส่วนที่เป็นจุดกดทับ เพื่อลดแรงกดและช่วยกระจายน้ำหนักได้ดียิ่งขึ้น
- ดูแลรักษาความสะอาดผิวหนังอย่างสม่ำเสมอ ไม่เกิดความชื้นหรือแห้งมากเกินไป เลือกใช้เสื้อผ้าที่ไม่รัดแน่นหรือมีติดต่อกับส่วนที่มีแผลกดทับ และเปลี่ยนเครื่องแต่งกายทุกวัน
- ควรดูแลทำความสะอาดที่นอนอยู่เสมอ ควรทำให้ที่นอนแห้งสะอาด อากาศถ่ายเท ไม่ให้เกิดความอับชื้น
ที่นอนลมป้องกันแผลกดทับแบบไหนดี ?
เนื่องจากเตียงลมผู้ป่วย มีคุณสมบัติที่ช่วยกระจายแรงกดทับได้ดี มีการ ทำงานโดยระบบปั๊มลมไฟฟ้า และมีการสลับยุบพองของที่นอนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการลดความรุนแรงในการเกิดแผลกดทับ ซึ่ง ที่นอนลมมี 2 ชนิดด้วยกัน คือ
1. ที่นอนลมแบบลอนขวาง
ที่นอนลมชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นลอนขวาง จะมีการสลับยุบพองแบบอัตโนมัติ
ลดการกดทับ กระจายน้ำหนักได้ดี ช่วยลดความอับชื้น เพิ่มความสบายในการนอนมากขึ้น ที่นอนลมแบบลอนขวางสามารถใช้ได้กับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ไม่ได้เคลื่อนไหว เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ รวมถึงผู้ป่วยที่เป็นแผลกดทับอยู่แล้ว
2. ที่นอนลมแบบรังผึ้ง
ที่นอนจะมีเป็นลักษณะลอนแบบรังผึ้ง และจะใช้การสลับความดันลมสลับยุบพองในแต่ละจุดแบบอัตโนมัติ สามารถปรับแรงดันได้ ดีไซน์ลาดเอียง รองรับสรีระ ช่วยกระจายแรงกดทับได้ดี เหมาะสำหรับผู้ป่วย หรือผู้สูงอายุที่ต้องพักฟื้นที่บ้าน สามารถใช้กับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ รวมถึงผู้ป่วยที่เป็นแผลกดทับอยู่แล้ว

คุณสมบัติเฉพาะของที่นอนลม
Apex Domas 1
- ขนาด
77.2 x 35.4 x 2.5 นิ้ว
196 x 90 x 6.4 เซนติเมตร - น้ำหนัก
5.07 ปอนด์
2.3 กิโลกรัม - รองรับน้ำหนักสูงสุด
220 ปอนด์
100 กิโลกรัม
Apex Domas 2
- ขนาด
77 x 31 x 4 นี้ว
196 x 80 x 10.2 เซนติเมตร - น้ำหนัก
8.38 ปอนด์
3.8 กิโลกรัม - รองรับน้ำหนักสูงสุด
308.6 ปอนด์
140 กิโลกรัม
ข้อควรระวังในการใช้ที่นอนลมกันแผลกดทับ
แม้ที่นอนลมที่ช่วยป้องกันแผลกดทับจะช่วยลดความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับได้ แต่ก็มีข้อจำกัดด้านการใช้งานในกรณีดังนี้
- ไม่ควรใช้กับผู้ป่วยกระดูกสันหลังหัก เพราะอาจทำให้มีการเคลื่อนที่ของกระดูก หรือผู้ป่วยที่มีการแตกหักของกระดูก และกระดูกยังไม่เข้าที่ เพราะที่นอนลมจะมีการสลับยุบพองอยู่เสมอจึงอาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยเหล่านี้ได้
- เตียงลมผู้ป่วย มักมีการใช้งานตลอด 24 ชั่วโมง จนอาจเกิดการชำรุด และต้องส่งซ่อมบำรุงบ่อยๆ นั่นเอง ซึ่งอาจเกิดจากปั๊มลมชำรุด หรือเกิดรูรั่วจนต้องเสียเวลาซ่อมบำรุงบ่อย
- เนื่องจากเตียงลมหรือที่นอนสำหรับผู้สูงอายุแผลกดทับต้องใช้ปั๊มลมที่ใช้ไฟฟ้าอยู่เสมอ ทำให้หากเกิดเหตุขัดข้องหรือเครื่องทำงานผิดปกติ อาจเกิดการรั่วของกระแสไฟฟ้าจนเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้ หรือหากเครื่องหยุดทำงานโดยไม่รู้ตัว ก็อาจทำให้เกิดเป็นแผลกดทับได้ หรือผู้ที่เป็นแผลกดทับอยู่แล้วก็อาจส่งผลให้อาการรุนแรงขึ้นได้
เตียงลมผู้ป่วย ราคาเท่าไหร่ ?
เตียงลมผู้ป่วย หรือที่นอนลม ราคาเริ่มต้นที่ประมาณ 1,000 บาทขึ้นไป
สรุปการเลือกที่นอนลมกันแผลกดทับ
สมาพันธ์ เฮลธ์ เป็นแหล่งรวมและจัดจำหน่ายเครื่องมือ อุปกรณ์สำหรับดูแลผู้ป่วยพักฟื้น ที่นอนลมกันแผลกดทับอุปกรณ์ตรวจวัดทางร่างกายชนิดต่าง ๆ รวมถึงผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน ที่ทันสมัยได้มาตรฐาน ตรวจวัดค่าต่าง ๆ ได้อย่างแม่นยำ เพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง รวมถึงดูแลคนที่คุณรักได้อย่างถูกต้อง
ระดับของแผลกดทับ
การจัดระดับแผลกดทับมีหลายระดับ โดยอาศัย
ระดับที่มาจากการจำแนกขององค์กรทางการแพทย์
แต่ละแห่งอาจแตกต่างกันไปเล็กน้อย
แต่ระดับที่พบบ่อยที่สุดมักจะมี 4 ระดับ
การจัดระดับแผลกดทับมีหลายระดับ โดยอาศัยระดับที่มาจากการจำแนกขององค์กรทางการแพทย์
แต่ละแห่งอาจแตกต่างกันไปเล็กน้อย แต่ระดับที่พบบ่อยที่สุดมักจะมี 4 ระดับ

ระดับที่ 1
แผลกดทับระดับเล็กน้อย
รอยแผลเล็กน้อยที่ผิวหนัง แผลไม่ลึก
เกินไปถึงเนื้อเยื่อชั้นใน แผลไม่ลามเข้าไป
ในเนื้อเยื่อส่วนลึกของร่างกาย
ระดับที่ 2
แผลกดทับระดับปานกลาง
แผลมีขนาดใหญ่กว่าระดับที่ 1 รอยแผล
ลามลึกเข้าไปในเนื้อเยื่อแต่ไม่ส่งผลให้เกิด
ภาวะหยุดการไหลเวียนเลือด อาจมีการ
เสื่อมสภาพของหลอดเลือดเล็กน้อย
ระดับที่ 3
แผลกดทับระดับรุนแรง
แผลมีขนาดใหญ่และลึกเข้าไปในเนื้อเยื่อ
มีแผลลึกเข้าไปและอาจเป็นอันตรายต่อ
การไหลเวียนเลือดในบางกรณี อาจมีการ
เสื่อมสภาพของหลอดเลือดหรือเนื้อเยื่อ
บริเวณโดยรอบของแผล
ระดับที่ 4
แผลกดทับระดับรุนแรงสุด
แผลมีขนาดใหญ่และลึกเข้าไปในเนื้อเยื่อ
จนเห็นกระดูก ส่งผลให้เกิดปัญหาร้ายแรง
ต่อการไหลเวียนเลือดและอาจเสี่ยงต่อการ
สูญเสียเนื้อเยื่อในบริเวณโดยรอบ
แผลกดทับป้องกันได้

ที่นอนลมแบบลอน สลับพอง-ยุบ แบบ
Tri-Cell ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

ที่นอนลมแบบรังผึ้ง สลับพอง-ยุบ อัตโนมัติ ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

CPR Valve วาล์วปล่อยลมฉุกเฉิน
ช่วยระบายอากาศได้อย่างรวดเร็ว

ผ้าคลุม PU กันน้ำและลดการเสียดสี

ที่นอนลมแบบลอน
สลับพอง-ยุบ แบบ Tri-Cell
ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

ที่นอนลมแบบรังผึ้ง
สลับพอง-ยุบ อัตโนมัติ
ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

CPR Valve วาล์วปล่อยลมฉุกเฉิน ช่วยระบายอากาศได้อย่างรวดเร็ว

ผ้าคลุม PU กันน้ำและลดการเสียดสี
แผลกดทับป้องกันได้
การดูแลรักษาแผลกดทับด้วยที่นอนลม
ที่มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล

ที่นอนลมแบบลอน สลับพอง-ยุบ แบบ Tri-Cell
ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

ที่นอนลมแบบรังผึ้ง สลับพอง-ยุบ อัตโนมัติ
ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

CPR Valve วาล์วปล่อยลมฉุกเฉิน
ช่วยระบายอากาศได้อย่างรวดเร็ว

ผ้าคลุม PU กันน้ำและลดการเสียดสี

ที่นอนลมแบบลอน
สลับพอง-ยุบ แบบ Tri-Cell
ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

ที่นอนลมแบบรังผึ้ง
สลับพอง-ยุบ อัตโนมัติ
ช่วยลดและกระจายแรงกดทับ

CPR Valve วาล์วปล่อยลมฉุกเฉิน ช่วยระบายอากาศได้อย่างรวดเร็ว

ผ้าคลุม PU กันน้ำและลดการเสียดสี
LOW AIR LOSS TECHNOLOGY
เทคโนโลยีที่ช่วยให้การถ่ายเทความร้อนและความชื้นระหว่างแผ่นที่นอน
กับตัวผู้ป่วยสามารถทำได้สะดวกและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เทคโนโลยี LOW AIR LOSS ถูกออกแบบให้มีรูระบายอากาศเล็ก ๆ อยู่บนลอนเพื่อให้อากาศภายในถุงลมผ่านออกมาสู่บริเวณผิวของลอนได้
ทั้งนี้จากงานวิจัย ของ Journal of Wound, Ostomy and Continence Nursing พบว่า เทคโนโลยี LOW AIR LOSS มีส่วนช่วยในการลด
อัตราการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยได้เมื่อเทียบกับที่นอนลมแบบปกติที่ไม่มี LOW AIR LOSS
เทคโนโลยี LOW AIR LOSS ถูกออกแบบให้มีรูระบายอากาศเล็ก ๆ อยู่บนลอนเพื่อให้อากาศภายใน
ถุงลมผ่านออกมาสู่บริเวณผิวของลอนได้ทั้งนี้จากงานวิจัย ของ Journal of Wound, Ostomy and Continence Nursing พบว่า เทคโนโลยี LOW AIR LOSS มีส่วนช่วยในการลดอัตราการเกิดแผลกดทับ
ในผู้ป่วยได้เมื่อเทียบกับที่นอนลมแบบปกติที่ไม่มี LOW AIR LOSS


LOW AIR LOSS TECHNOLOGY
เทคโนโลยีที่ช่วยให้การถ่ายเทความร้อน
และความชื้นระหว่างแผ่นที่นอนกับตัวผู้ป่วย
สามารถทำได้สะดวกและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เทคโนโลยี LOW AIR LOSS ถูกออกแบบให้มีรูระบาย
อากาศเล็ก ๆ อยู่บนลอนเพื่อให้อากาศภายใน
ถุงลมผ่านออกมาสู่บริเวณผิวของลอนได้
ทั้งนี้จากงานวิจัย ของ Journal of Wound,
Ostomy and Continence Nursing
พบว่า เทคโนโลยี LOW AIR LOSS มีส่วนช่วย
ในการลดอัตราการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยได้
เมื่อเทียบกับที่นอนลมแบบปกติที่ไม่มี LOW AIR LOSS
เทคโนโลยี LOW AIR LOSS ถูกออกแบบให้มีรูระบายอากาศเล็ก ๆ อยู่บนลอนเพื่อให้อากาศภายใน
ถุงลมผ่านออกมาสู่บริเวณผิวของลอนได้ทั้งนี้จากงานวิจัย ของ Journal of Wound, Ostomy and Continence Nursing พบว่า เทคโนโลยี LOW AIR LOSS มีส่วนช่วยในการลดอัตราการเกิดแผลกดทับ
ในผู้ป่วยได้เมื่อเทียบกับที่นอนลมแบบปกติที่ไม่มี LOW AIR LOSS






Related Product
Related Product
สอบถามข้อมูลและรับส่วนลดราคาพิเศษ คลิก
สอบถามข้อมูลและรับส่วนลดราคาพิเศษ คลิก