เครื่องวัดความดันดิจิตอล
วัดผลได้ด้วยตัวเอง

เครื่องวัดความดันดิจิตอล เป็นอุปกรณ์ที่สามารถพกพา
และนำไปใช้นอกสถานที่ได้ เพราะตัวเครื่องมีขนาดเล็ก
น้ำหนักเบาและใช้งานได้ง่าย เหมาะสำหรับผู้ป่วย
หรือผู้สูงอายุที่อาจมีความเสี่ยงความดันโลหิตสูง
เพราะการเกิดความดันโลหิตสูงอาจทำให้เกิดโรคอื่นๆ
ตามมาได้ หากไม่ได้ทำการรักษาที่ทันท่วงที
การตรวจเช็กด้วยเครื่องวัดความดันแบบพกพา
จะช่วยป้องกันความเสี่ยงการเกิดโรคเหล่านั้นได้

เครื่องวัดความดันดิจิตอล
คืออะไร ?

เครื่องวัดความดันดิจิตอล (Digital Blood Pressure Monitor)
เป็นเครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้ในการวัดความดันโลหิต
ซึ่งมีการแสดงผลค่าความดันโลหิตแบบดิจิตอล
โดยใช้หน่วยวัดความดันเป็นมิลลิเมตรปรอท (mmHg)
มักใช้ได้ทั้งกับบุคคลทั่วไป ผู้ป่วย ผู้สูงอายุ

เครื่องวัดความดันโลหิต
มีแบบไหนบ้าง ?

เครื่องวัดความดันโลหิตสามารถแบ่งออกได้
ทั้งหมด 3 แบบดังนี้

เครื่องวัดความดันดิจิตอล

เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมากที่สุด
ไม่ต้องใช้ลูกยางสำหรับบีบลม มีความสะดวก
ในการใช้งานมากขึ้น อ่านค่าได้อย่างชัดเจน
แม่นยำ พกพาได้ง่าย มีข้อผิดพลาดน้อย

เครื่องวัดความดันชนิดขดลวด

จะมีลักษณะที่พกพาสะดวก น้ำหนักเบา
ราคาไม่แพง มีที่บีบลมมาให้ และตัวเครื่อง
มีกลไกที่ซับซ้อน ทำให้ต้องปรับเครื่องมือ
โดยเทียบกับเครื่องมือชนิดปรอท
อย่างน้อยปีละครั้ง 

เครื่องวัดความดันชนิดปรอท

เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่งแก้วที่มี
สารปรอทอยู่ภายในสามารถใช้วัดได้ง่าย
ไม่ต้องมีการปรับแต่งตั้งค่าอะไรให้ยุ่งยาก
เพราะ ใช้หลักการแรงโน้มถ่วงของโลกและ
ให้ผลการวัดที่แม่นยำแต่อาจมีขนาดใหญ่
พกพาได้ยาก และต้องวางแท่งปรอทให้อยู่
ระดับสายตาจึงจะอ่านค่าได้แม่นยำที่สุด

เครื่องวัดความดัน
ดิจิตอล

เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมากที่สุดไม่ต้องใช้ลูกยางสำหรับบีบลม มีความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น อ่านค่าได้อย่างชัดเจนแม่นยำ พกพาได้ง่าย มีข้อผิดพลาดน้อย

เครื่องวัดความดัน
ชนิดขดลวด

จะมีลักษณะที่พกพาสะดวก น้ำหนักเบาราคาไม่แพง มีที่บีบลมมาให้ และตัวเครื่องมีกลไกที่ซับซ้อน ทำให้ต้องปรับเครื่องมือ
โดยเทียบกับเครื่องมือชนิดปรอทอย่างน้อยปีละครั้ง 

เครื่องวัดความดัน
ชนิดปรอท

เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่งแก้วที่มีสารปรอทอยู่ภายในสามารถใช้วัดได้ง่ายไม่ต้องมีการปรับแต่งตั้งค่าอะไรให้ยุ่งยากเพราะ ใช้หลักการแรงโน้มถ่วงของโลกและให้ผลการวัดที่แม่นยำแต่อาจมีขนาดใหญ่พกพาได้ยาก และต้องวางแท่งปรอทให้อยู่ระดับสายตาจึงจะอ่านค่าได้แม่นยำที่สุด

เครื่องวัดความดัน
ใช้แบตเตอรี่แบบไหน ?

เครื่องวัดความดันส่วนใหญ่ จะใช้แบตเตอรี่
หรือถ่าน AA 1.5V จำนวน 4 ก้อน หรือชาร์จไฟ
ผ่านอะแดปเตอร์ DC 6V, 600mA,
อแดปเตอร์ AC 5V-1A ขึ้นอยู่กับแต่ละรุ่น

ค่าความดันปกติจะอยู่ที่เท่าไหร่
แต่ละค่าหมายถึงอะไร ?

ตัวเลขตัวบนของเครื่องวัดความดันอัตโนมัติ หมายถึงค่าความดันของกระแสเลือดในขณะที่หัวใจมีการบีบตัว
ค่าตัวเลขตัวบนควรน้อยกว่า 120 มิลลิเมตรปรอท
(แต่ไม่น้อยกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท) ถือเป็นค่าที่เหมาะสม

ตัวเลขตัวล่าง หมายถึงค่าความดันของกระแสเลือด
ขณะที่หัวใจมีการคลายตัว

ค่าตัวเลขตัวล่าง ควรน้อยกว่า 80 มิลลิเมตรปรอท
(แต่ไม่น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท) ถือเป็นค่าที่เหมาะสม

การเตรียมตัวก่อนใช้
เครื่องวัดความดันดิจิตอล

ก่อนวัดความดันควรต้องมีการเตรียมร่างกายให้พร้อมก่อน
คือ การงดคาเฟอีน แอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ งดการออกกำลังกาย
ก่อนวัดประมาณ 30 นาที และควรขับถ่ายให้เรียบร้อย และควรวัด
ในที่ที่มีอุณหภูมิปกติไม่หนาวและไม่ร้อนจนเกินไป ระหว่างวัดควร
วางแขนราบไปกับโต๊ะที่อยู่ระดับเดียวกับหัวใจ และงดการเคลื่อนไหว

เครื่องวัดความดันมีวิธีใช้อย่างไร ?
  1. เมื่อเตรียมตัวตามขั้นตอนเบื้องต้นแล้ว ให้นำปลอกแขน
    ของเครื่องวัดมาใส่  และพันให้พอดีกับแขน ต้องไม่หลวม
    หรือแน่นจนเกินไป และพันให้ปลอกแขนอยู่เหนือข้อศอก
    ประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร
  2. กดปุ่มเริ่มต้นเพื่อเริ่มวัดความดัน ในขณะที่เครื่องวัดกำลัง
    วัดความดัน ควรให้แขนอยู่ในท่าที่สบาย หายใจปกติ
    และไม่เคลื่อนไหวร่างกาย 
  3. จากนั้นปลอกแขนจะค่อย ๆ พองและรัดแขนจนรู้สึกแน่น
    และจะค่อย ๆ คลายตัวออก
  4. เมื่อเครื่องวัดเสร็จสิ้น  จะแสดงผลความดันโลหิตบนหน้าจอ
    ซึ่งจะประกอบไปด้วยค่าความดันโลหิตสูงสุด (Systolic)
    และค่าความดันโลหิตต่ำสุด (Diast) จากนั้นอาจจดค่า
    ความดันเอาไว้ และดูว่าได้ค่าปกติหรือไม่ หากสูงหรือต่ำเกินไป
    ควรต้องพบแพทย์เพื่อตรวจปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ เพิ่มเติม
  1. เมื่อเตรียมตัวตามขั้นตอนเบื้องต้นแล้ว ให้นำปลอกแขนของเครื่องวัดมาใส่  และพันให้พอดีกับแขน ต้องไม่หลวมหรือแน่นจนเกินไปและพันให้ปลอกแขนอยู่เหนือข้อศอกประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร
  2. กดปุ่มเริ่มต้นเพื่อเริ่มวัดความดัน ในขณะที่เครื่องวัดกำลังวัดความดัน ควรให้แขนอยู่ในท่าที่สบาย หายใจปกติ และไม่เคลื่อนไหวร่างกาย 
  3. จากนั้นปลอกแขนจะค่อย ๆ พองและรัดแขนจนรู้สึกแน่น และจะค่อย ๆ คลายตัวออก
  4. เมื่อเครื่องวัดเสร็จสิ้น  จะแสดงผลความดันโลหิตบนหน้าจอ ซึ่งจะประกอบไปด้วยค่าความดันโลหิตสูงสุด (Systolic) และค่าความดันโลหิตต่ำสุด (Diast) จากนั้นอาจจดค่าความดันเอาไว้ และดูว่าได้ค่าปกติหรือไม่ หากสูงหรือต่ำเกินไป ควรต้องพบแพทย์เพื่อตรวจปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ เพิ่มเติม

ความดันผิดปกติ
เสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง

การตรวจเช็กความดันสามารถช่วยตรวจหาความเสี่ยง
ของโรคต่าง ๆ ได้ เพราะในบางโรคในระยะเริ่มต้นอาจจะ
ไม่แสดงอาการเลยหากมีการวัดความดันอย่างสม่ำเสมอจะ
ช่วยลดโอกาสเสี่ยงการเกิดโรคและทำการรักษาได้ทันท่วงทีได้
ซึ่งความดันที่ผิดปกติ สามารถเสี่ยงเป็นโรคเหล่านี้ได้ 

โรคหลอดเลือดในสมอง

เนื่องจากความดันโลหิตสูงสามารถเพิ่มความเสี่ยง
ในการเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ (Ischemic stroke)
หรือโรคเส้นเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke)

โรคหลอดเลือดในหัวใจ

เนื่องจากความดันโลหิตสูงอาจทำให้หลอดเลือดในหัวใจตีบ
หรืออุดตันได้ทำให้เกิดอาการหัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)
หรืออาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia) และเสี่ยงต่อ
การเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด (Coronary artery disease)

โรคไต

เนื่องจากความดันโลหิตสูงสามารถทำให้เส้นเลือดในไต
เสียหายได้ จนอาจทำให้เกิดโรคไตเรื้อรัง (Chronic kidney
disease) หรือภาวะไตวาย (Kidney failure)

โรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบหลอดเลือด

3 วิธีการเลือก
เครื่องวัดความดันโลหิต

ที่เหมาะกับคุณ

เครื่องวัดความดันมีฟังก์ชั่นมากมายแตกต่างกันไปในปัจจุบัน
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถใช้งานเครื่องวัดความดันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นจึงควรเลือกใช้ให้เหมาะสมตามกลุ่ม
โดยมีหลักการเลือกดังนี้

กลุ่มบุคคลทั่วไป วัยทำงาน
หรือคนรักสุขภาพ

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่ได้มาตรฐานผ่านการ
รับรองทางการแพทย์ มีค่าแม่นยำและมีเทคโนโลยี
ควบคุมความดันปลอกแขนเพื่อให้การวัด นุ่มนวล
ไม่รัดแขนจนเจ็บ หรือชา

กลุ่มที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ผู้ที่ทานยาความดัน ผู้สูงอายุ

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่มีมาตรฐาน สามารถ
ตรวจวัดต่อเนื่องและหาค่าเฉลี่ยได้โดยอัตโนมัติ
จากการกดวัด 1 ครั้ง เพื่อความแม่นยำ
ตามคำแนะนำของแพทย์

กลุ่มครอบครัวที่มีประวัติเป็น
อัมพฤกษ์-อัมพาต หรือผู้ที่มีความ
เสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่สามารถตรวจวัด
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว (AFIB) ซึ่งเป็นสาเหตุ
สำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ช่วยคัดกรองเบื้องต้นเพื่อให้สามารถไปพบแพทย์
ได้ทันท่วงทีเมื่อมีอาการ

สรุปการใช้เครื่องวัดความดันดิจิตอล

ไม่ว่าคุณจะเป็นบุคคลทั่วไปที่อยากใส่ใจสุขภาพ ผู้สูงอายุหรือ
ผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูง ก็ควรมีเครื่องวัดความดันโลหิตเอาไว้
เพื่อให้คุณสามารถตรวจวัดความดันโลหิตของคุณได้เอง
เพิ่มความสะดวกในการตรวจวัดมากขึ้น และยังช่วยเฝ้าระวัง
หรือลดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคจากความดันโลหิตได้

เครื่องวัดความดันโลหิตดิจิตอล

เครื่องวัดความดันโลหิต
ประเภท AFIB

เครื่องวัดความดันโลหิตที่สามารถตรวจวัดภาวะหัวใจห้องบน
สั่นพริ้ว (AFIB) ซึ่งเป็น สาเหตุสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ช่วยคัดกรองเบื้องต้นเพื่อให้ไปพบแพทย์ได้ทันท่วงทีเมื่อมีอาการ

เครื่องวัดความดันโลหิต
รุ่นมาตรฐาน

เครื่องวัดความดันที่ได้มาตรฐาน ผ่านการรับรอง
ทางการแพทย์ มีค่าแม่นยำ และมีเทคโนโลยีควบคุม
ความดันปลอกแขน เพื่อให้การวัดนุ่มนวลไม่รัด
แขนจนเจ็บหรือชา

เครื่องวัดความดันโลหิต
ทางการแพทย์

เครื่องวัดความดันโลหิต และชีพจรอัตโนมัติ
แบบดิจิตอล ชนิดพกพาติดตัวตลอด 24 ชั่วโมง

ความประทับใจจากผู้ใช้งานจริง
ข่าวสารไมโครไลฟ์

เครื่องวัดความดัน และที่วัดไข้ Microlife มีการจัดจำหน่าย
อยู่ในร้านขายยาชั้นนำทั่วประเทศไทย หากลูกค้าประสงค์จะทดลอง
หรือซื้อสินค้าสามารถติดต่อบริษัทฯ เพื่อระบุร้านที่จำหน่ายสินค้า
ในพื้นที่ของท่านได้

สอบถามข้อมูลและรับส่วนลดราคาพิเศษ คลิก

เครื่องวัดความดันดิจิตอล
วัดผลได้ด้วยตัวเอง

เครื่องวัดความดันดิจิตอล เป็นอุปกรณ์ที่สามารถพกพาและนำไปใช้นอกสถานที่ได้ เพราะตัวเครื่องมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบาและใช้งานได้ง่าย เหมาะสำหรับผู้ป่วย
หรือผู้สูงอายุที่อาจมีความเสี่ยงความดันโลหิตสูง เพราะการเกิดความดันโลหิตสูงอาจทำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมาได้ หากไม่ได้ทำการรักษาที่ทันท่วงที
การตรวจเช็กด้วยเครื่องวัดความดันแบบพกพา จะช่วยป้องกันความเสี่ยงการเกิดโรคเหล่านั้นได้

เครื่องวัดความดันดิจิตอล เป็นอุปกรณ์ที่สามารถพกพาและนำไปใช้นอกสถานที่ได้ เพราะตัวเครื่องมีขนาดเล็ก
น้ำหนักเบาและใช้งานได้ง่าย เหมาะสำหรับผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่อาจมีความเสี่ยงความดันโลหิตสูง เพราะการเกิด
ความดันโลหิตสูงอาจทำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมาได้ หากไม่ได้ทำการรักษาที่ทันท่วงทีการตรวจเช็กด้วยเครื่องวัดความดัน
แบบพกพา จะช่วยป้องกันความเสี่ยงการเกิดโรคเหล่านั้นได้

เครื่องวัดความดันดิจิตอล คืออะไร ?

เครื่องวัดความดันดิจิตอล (Digital Blood Pressure Monitor) เป็นเครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้ในการวัดความดันโลหิต
ซึ่งมีการแสดงผลค่าความดันโลหิตแบบดิจิตอล โดยใช้หน่วยวัดความดันเป็นมิลลิเมตรปรอท (mmHg) มักใช้ได้ทั้งกับ
บุคคลทั่วไป ผู้ป่วย ผู้สูงอายุ

เครื่องวัดความดันโลหิตมีแบบไหนบ้าง ?

เครื่องวัดความดันโลหิตสามารถแบ่งออกได้ ทั้งหมด 3 แบบดังนี้

เครื่องวัดความดันดิจิตอล

เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมากที่สุด
ไม่ต้องใช้ลูกยางสำหรับบีบลม มีความสะดวก
ในการใช้งานมากขึ้น อ่านค่าได้อย่างชัดเจน
แม่นยำ พกพาได้ง่าย มีข้อผิดพลาดน้อย

เครื่องวัดความดันชนิดขดลวด

จะมีลักษณะที่พกพาสะดวก น้ำหนักเบา
ราคาไม่แพง มีที่บีบลมมาให้ และตัวเครื่อง
มีกลไกที่ซับซ้อน ทำให้ต้องปรับเครื่องมือ
โดยเทียบกับเครื่องมือชนิดปรอท
อย่างน้อยปีละครั้ง 

เครื่องวัดความดันชนิดปรอท

เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่งแก้วที่มี
สารปรอทอยู่ภายในสามารถใช้วัดได้ง่าย
ไม่ต้องมีการปรับแต่งตั้งค่าอะไรให้ยุ่งยาก
เพราะ ใช้หลักการแรงโน้มถ่วงของโลกและ
ให้ผลการวัดที่แม่นยำแต่อาจมีขนาดใหญ่
พกพาได้ยาก และต้องวางแท่งปรอทให้อยู่
ระดับสายตาจึงจะอ่านค่าได้แม่นยำที่สุด

เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมากที่สุดไม่ต้องใช้ลูกยางสำหรับบีบลม มีความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น อ่านค่าได้อย่างชัดเจนแม่นยำ พกพาได้ง่าย มีข้อผิดพลาดน้อย

จะมีลักษณะที่พกพาสะดวก น้ำหนักเบา ราคาไม่แพง มีที่บีบลมมาให้ และตัวเครื่องมีกลไกที่ซับซ้อน ทำให้ต้องปรับเครื่องมือโดยเทียบกับเครื่องมือชนิดปรอทอย่างน้อยปีละครั้ง 

เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่งแก้วที่มีสารปรอทอยู่ภายในสามารถใช้วัดได้ง่ายไม่ต้องมีการปรับแต่งตั้งค่าอะไรให้ยุ่งยากเพราะ ใช้หลักการแรงโน้มถ่วงของโลกและให้ผลการวัดที่แม่นยำแต่อาจมีขนาดใหญ่พกพาได้ยาก และต้องวางแท่งปรอทให้อยู่ระดับสายตาจึงจะอ่านค่าได้แม่นยำที่สุด

เครื่องวัดความดัน
ใช้แบตเตอรี่แบบไหน ?

เครื่องวัดความดันส่วนใหญ่ จะใช้แบตเตอรี่
หรือถ่าน AA 1.5V จำนวน 4 ก้อน หรือชาร์จไฟ
ผ่านอะแดปเตอร์ DC 6V, 600mA,
อแดปเตอร์ AC 5V-1A ขึ้นอยู่กับแต่ละรุ่น

ค่าความดันปกติจะอยู่ที่เท่าไหร่
แต่ละค่าหมายถึงอะไร ?

ตัวเลขตัวบนของเครื่องวัดความดันอัตโนมัติ หมายถึงค่าความดันของกระแสเลือด ในขณะที่หัวใจมีการบีบตัว
ค่าตัวเลขตัวบนควรน้อยกว่า 120 มิลลิเมตรปรอท (แต่ไม่น้อยกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท) ถือเป็นค่าที่เหมาะสม

ตัวเลขตัวล่าง หมายถึงค่าความดันของกระแสเลือด ขณะที่หัวใจมีการคลายตัว
ค่าตัวเลขตัวล่าง ควรน้อยกว่า 80 มิลลิเมตรปรอท (แต่ไม่น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท) ถือเป็นค่าที่เหมาะสม

ตัวเลขตัวบนของเครื่องวัดความดันอัตโนมัติ หมายถึงค่าความดันของ
กระแสเลือด ในขณะที่หัวใจมีการบีบตัว

ค่าตัวเลขตัวบนควรน้อยกว่า 120 มิลลิเมตรปรอท
(แต่ไม่น้อยกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท) ถือเป็นค่าที่เหมาะสม

ตัวเลขตัวล่าง หมายถึงค่าความดันของกระแสเลือด ขณะที่หัวใจมีการคลายตัว
ค่าตัวเลขตัวล่าง ควรน้อยกว่า 80 มิลลิเมตรปรอท
(แต่ไม่น้อยกว่า 60 มิลลิเมตรปรอท) ถือเป็นค่าที่เหมาะสม

การเตรียมตัวก่อนใช้เครื่องวัดความดันดิจิตอล

ก่อนวัดความดันควรต้องมีการเตรียมร่างกายให้พร้อมก่อน คือ การงดคาเฟอีน แอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่
งดการออกกำลังกายก่อนวัดประมาณ 30 นาที และควรขับถ่ายให้เรียบร้อย และควรวัดในที่ที่มีอุณหภูมิปกติ
ไม่หนาวและไม่ร้อนจนเกินไป ระหว่างวัดควรวางแขนราบไปกับโต๊ะที่อยู่ระดับเดียวกับหัวใจ และงดการเคลื่อนไหว

เครื่องวัดความดันมีวิธีใช้อย่างไร ?

  1. เมื่อเตรียมตัวตามขั้นตอนเบื้องต้นแล้ว ให้นำปลอกแขนของเครื่องวัดมาใส่  และพันให้พอดีกับแขน ต้องไม่หลวมหรือแน่นจนเกินไป
    และพันให้ปลอกแขนอยู่เหนือข้อศอกประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร
  2. กดปุ่มเริ่มต้นเพื่อเริ่มวัดความดัน ในขณะที่เครื่องวัดกำลังวัดความดัน ควรให้แขนอยู่ในท่าที่สบาย หายใจปกติ และไม่เคลื่อนไหวร่างกาย 
  3. จากนั้นปลอกแขนจะค่อย ๆ พองและรัดแขนจนรู้สึกแน่น และจะค่อย ๆ คลายตัวออก
  4. เมื่อเครื่องวัดเสร็จสิ้น  จะแสดงผลความดันโลหิตบนหน้าจอ ซึ่งจะประกอบไปด้วยค่าความดันโลหิตสูงสุด (Systolic) และค่าความดันโลหิตต่ำสุด (Diast)
    จากนั้นอาจจดค่าความดันเอาไว้ และดูว่าได้ค่าปกติหรือไม่ หากสูงหรือต่ำเกินไป ควรต้องพบแพทย์เพื่อตรวจปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ เพิ่มเติม

ความดันผิดปกติเสี่ยงเป็นโรคอะไรบ้าง

การตรวจเช็กความดันสามารถช่วยตรวจหาความเสี่ยงของโรคต่าง ๆ ได้ เพราะในบางโรคในระยะเริ่มต้น อาจจะไม่แสดงอาการเลย
หากมีการวัดความดันอย่างสม่ำเสมอจะช่วยลดโอกาสเสี่ยงการเกิดโรคและทำการรักษาได้ทันท่วงทีได้
ซึ่งความดันที่ผิดปกติ สามารถเสี่ยงเป็นโรคเหล่านี้ได้ 

โรคหลอดเลือดในสมอง

เนื่องจากความดันโลหิตสูงสามารถเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ (Ischemic stroke)
หรือโรคเส้นเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke)

โรคหลอดเลือดในหัวใจ

เนื่องจากความดันโลหิตสูงอาจทำให้หลอดเลือดในหัวใจตีบหรืออุดตันได้ ทำให้เกิดอาการหัวใจเต้นเร็ว
(Tachycardia) หรืออาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia) และเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด
(Coronary artery disease)

โรคไต

เนื่องจากความดันโลหิตสูงสามารถทำให้เส้นเลือดในไตเสียหายได้ จนอาจทำให้เกิดโรคไตเรื้อรัง
(Chronic kidney disease) หรือภาวะไตวาย (Kidney failure)

โรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบหลอดเลือด

3 วิธีการเลือก
เครื่องวัดความดันโลหิต

ที่เหมาะสมกับคุณ

เครื่องวัดความดันมีฟังก์ชั่นมากมาย
แตกต่างกันไปในปัจจุบัน เพื่อช่วยให้
ผู้ป่วยสามารถใช้งานเครื่องวัดความดัน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
จึงควรเลือกใช้ให้เหมาะสมตามกลุ่ม
โดยมีหลักการเลือกดังนี้

กลุ่มบุคคลทั่วไป วัยทำงาน
หรือคนรักสุขภาพ

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่ได้มาตรฐานผ่านการ
รับรองทางการเพทย์ มีค่าแม่นยำและมีเทคโนโลยี
ควบคุมความดันปลอกแขนเพื่อให้การวัด นุ่มนวล
ไม่รัดแขนจนเจ็บ หรือชา

กลุ่มที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ผู้ที่ทานยาความดัน ผู้สูงอายุ

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่มีมาตรฐาน สามารถ
ตรวจวัดต่อเนื่องและหาค่าเฉลี่ยได้โดยอัตโนมัติ
จากการกดวัด 1 ครั้ง เพื่อความแม่นยำ
ตามคำแนะนำของแพทย์

กลุ่มครอบครัวที่มีประวัติ
เป็นอัมพฤกษ์-อัมพาต
หรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็น
โรคหลอดเลือดสมอง

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่สามารถตรวจวัด
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว (AFIB) ซึ่งเป็นสาเหตุ
สำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ช่วยคัดกรองเบื้องต้นเพื่อให้สามารถไปพบแพทย์
ได้ทันท่วงทีเมื่อมีอาการ

เครื่องวัดความดันมีฟังก์ชั่นมากมายแตกต่างกันไปในปัจจุบัน เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถใช้งานเครื่องวัดความดันได้อย่างมีระสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นจึงควรเลือกใช้ให้เหมาะสมตามกลุ่มโดยมีหลักการเลือกดังนี้

กลุ่มบุคคลทั่วไป วัยทำงานหรือคนรักสุขภาพ

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่ได้มาตรฐานผ่านการรับรองทางการเพทย์ มีค่าแม่นยำและมีเทคโนโลยีควบคุมความดันปลอกแขนเพื่อให้การวัด นุ่มนวลไม่รัดแขนจนเจ็บ หรือชา

กลุ่มที่มีภาวะความดันโลหิตสูงผู้ที่ทานยาความดัน ผู้สูงอายุ

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่มีมาตรฐาน สามารถตรวจวัดต่อเนื่องและหาค่าเฉลี่ยได้โดยอัตโนมัติจากการกดวัด 1 ครั้ง เพื่อความแม่นยำตามคำแนะนำของแพทย์

กลุ่มครอบครัวที่มีประวัติเป็นอัมพฤกษ์-อัมพาต
หรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง

ควรใช้เครื่องวัดความดันที่สามารถตรวจวัดภาวะหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว (AFIB) ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองช่วยคัดกรองเบื้องต้นเพื่อให้สามารถไปพบแพทย์ได้ทันท่วงทีเมื่อมีอาการ

สรุปการใช้เครื่องวัดความดันดิจิตอล

ไม่ว่าคุณจะเป็นบุคคลทั่วไปที่อยากใส่ใจสุขภาพ ผู้สูงอายุ หรือผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูง ก็ควรมีเครื่องวัดความดันโลหิตเอาไว้
เพื่อให้คุณสามารถตรวจวัดความดันโลหิตของคุณได้เอง เพิ่มความสะดวกในการตรวจวัดมากขึ้น และยังช่วยเฝ้าระวัง
หรือลดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคจากความดันโลหิตได้

เครื่องวัดความดันโลหิตดิจิตอล

เครื่องวัดความดันโลหิต
ประเภท AFIB

เครื่องวัดความดันโลหิตที่สามารถตรวจวัดภาวะ
หัวใจห้องบนสั่นพริ้ว (AFIB) ซึ่งเป็น สาเหตุสำคัญ
ของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ช่วยคัดกรอง
เบื้องต้นเพื่อให้ไปพบแพทย์ได้ทันท่วงทีเมื่อมีอาการ

เครื่องวัดความดันโลหิตที่สามารถตรวจวัดภาวะหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว (AFIB) ซึ่งเป็น สาเหตุสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ช่วยคัดกรองเบื้องต้นเพื่อให้ไปพบแพทย์ได้ทันท่วงทีเมื่อมีอาการ

เครื่องวัดความดันโลหิต
รุ่นมาตรฐาน

เครื่องวัดความดันที่ได้มาตรฐาน ผ่านการรับรอง
ทางการแพทย์ มีค่าแม่นยำ และมีเทคโนโลยีควบคุม
ความดันปลอกแขน เพื่อให้การวัดนุ่มนวลไม่รัด
แขนจนเจ็บหรือชา

เครื่องวัดความดันที่ได้มาตรฐาน ผ่านการรับรองทางการแพทย์ มีค่าแม่นยำ และมีเทคโนโลยีควบคุมความดันปลอกแขน เพื่อให้การวัดนุ่มนวลไม่รัดแขนจนเจ็บหรือชา

เครื่องวัดความดันโลหิต
ทางการแพทย์

เครื่องวัดความดันโลหิต และชีพจรอัตโนมัติ
แบบดิจิตอล ชนิดพกพาติดตัวตลอด 24 ชั่วโมง

เครื่องวัดความดันโลหิต และชีพจรอัตโนมัติแบบดิจิตอล ชนิดพกพาติดตัวตลอด 24 ชั่วโมง

ความประทับใจจากผู้ใช้งานจริง
ข่าวสารไมโครไลฟ์

เครื่องวัดความดัน และที่วัดไข้ Microlife มีการจัดจำหน่ายอยู่ในร้านขายยาชั้นนำทั่วประเทศไทย หากลูกค้าประสงค์จะทดลองหรือซื้อสินค้า
สามารถติดต่อบริษัทฯ เพื่อระบุร้านที่จำหน่ายสินค้าในพื้นที่ของท่านได้

สอบถามข้อมูลและรับส่วนลดราคาพิเศษ คลิก